Freeradius เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการแอคเค้าท์และใช้ในการตรวจสอบสิทธิ ตามมาตรฐาน IEEE 802.1X ตามคอนเซ็ปคือ AAA
เรามาดูกันซิว่า AAA มาจากคำว่าอะไรบ้าง
Accounting นั่นคือการจัดการแอคเค้าท์ในด้านต่างๆทั้งการสร้างแอคเค้าท์ ลบ และเพิ่มแอคเค้าท์ ตลอดจนการเพิ่มเติมคุณสมบัติต่างๆของแแต่ละแอคเค้าท์
Authentication
สิทธิ ตามวิธีการ A แรกที่ได้กล่าวมาในขั้นตอนนี้จะมีการแจ้งแมสเสจต่างๆว่าผ่านหรือไม่ ผ่าน การตรวจสอบสิทธิและเมื่อผ่านกระบวนการนี้ได้สำเร็จก็จะเข้าสู่กระบวนการสุด ท้าย นั่นคือ
Authorize
ทีนี้มาดูกระบวนการการทำงานของ freeradius กันดีกว่า
เริ่ม แรกหลังจากที่ได้มีการสร้างแอคเคาท์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว มีการใช้งานโปรแกรม radius-client ต่างๆเช่น Pgina, ntradping หรือโปรแกรมอื่นๆเพื่อล็อกอินหรือตรวจสอบสิทธิ ก็จะเข้าสู่กระบวนการต่างๆดังนี้
1.โปรแกรม radius-client จะติดต่อโปรแกรม freeradius ตามหมายเลขไอพีและพอร์ทที่ได้กำหนดไว้ (โดยปรกติพอร์ทของโปรแกรมจะอยู่ที่1812 ตาม default)
2.โปรแกรมจะนำชื่อแอคเค้าท์ รหัสผ่าน และค่า secret key ไปตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่ในขั้นตอนนี้จะมีกระบวนการดังนี้
2.1 (radius-client) >>>{username,password,secret key} >>>(freeradius)
ในขั้นตอนนี้จะมีการส่งยูสเซอร์เนม พาสเวิร์ด และ ซีเคร็ดคีย์ไปยังเซอร์ฟเวอร์เพื่อใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้อง
2.2 (radius-client) >>>>{access-request}>>>>(freeradius)
ในขั้นตอนนี้ทางฝั่งไคลเอ้นท์จะสร้างส้ญญาณร้องขอผลตอบกลับมาจากเซอร์ฟเวอร
์หรือรอสัญญาณตอบรับความถูกผิดของข้อมูลที่ส่งจากขั้นตอนแรก
2.3(radius-client) <<<<{access-reply}<<<<<<<<<(freeradius)
ใน ขั้นตอนนี้เซอร์ฟเวอร์จะตอบกลับไปยังเครื่องไคลเอ้นท์ด้วยสัญญาณ access-reply โดยสัญญาณนี้จะประกอบไปด้วย2สัญญาณย่อยที่สำคัญแต่จะเกิดขึ้นเพียงแค่หนึ่ง สัญญาณ
ต่อเงื่อนไขนั่นคือสัญญาณ access-accept และ access-reject โดยสัญญาณ
access-accept นี้คือสัญญาณที่ใช้ตอบกลับไปยังไคลเอ้นท์ว่ายูสเซอร์เนม รหัสผ่าน และซีเคร็ดคีย์นั้นถูกต้องส่วนสัญญาณ access-reject นั้นจะตรงกันข้ามกับสัญญาณแรก โดยมีความหมายคือยูสเซอร์เนม รหัสผ่าน และซีเคร็ดคีย์ไม่ถูกต้องหรืออาจมี เฉพาะตัวหนึ่งตัวใดไม่ถูกต้องก็ได้ เป็นต้น
ในโปรแกรม freeradius ต้องอาศัยฐานข้อมูลเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ในการประมวลผลไม่ว่าจะเป็น
ยู สเซอร์เนม และพาสเวิร์ด หรือเมสเสจและเงื่อนไขต่างๆของแต่ละยูสเซอร์ โดยในฐานข้อมูลจะมีตารางที่เกี่ยวข้องดังนี้ radcheck , radgroupcheck , radgroupreply,usergroup และ radacct มาดูแต่ละเทเบิลดีกว่า
radcheck ในเทเบิลนี้จะมีฟิลด์ดังนี้
username เอาไว้กำหนดยูสเซอร์เนม
Attribute เอาไว้กำหนดแอททริบิวท์ ว่าจะใช้อะไรเช่นต้องการการกำหนดพาสสเวิร์ดก็ใช้ Password เป็นต้น
op เป็นสัญลักษณ์เอาไว้กำหนดรายละเอียดของแต่ละ Attribute
value เอาไว้กำหนดค่าของแต่ละ Attribute
มาดูตัวอย่างการกำนดหรือสร้างแอคเค้าท์กันดังนี้
insert into radcheck value(Null,'oportino','Password',':=','opor_test');
อธิบาย ในขั้นตอนนี้เราก็ได้แอคเค้าท์ แล้วดังนี้ user=oportino มี password=opor_test เป็นต้น แต่ยังไม่สมบูรณ์นะเหลือที่เทเบิล usergroup อีกดูตัวอย่างข้างล่างประกอบด้วย
usergroup
username เอาไว้กำหนดยูสเซอร์เนม
groupname เอาไว้เก็บชื่อกรุ๊ปหรือกำหนดกรุ๊ปให้แก่ยูสเซอร์นั้น
มาดูตัวอย่างการกำนดหรืออสร้างแอคเค้าท์ให้สมบูรณ์ต่อจากตัวอย่างที่แล้วดังนี้
insert into usergroup value(Null,'oportino','User_blog');
อธิบาย ในขั้นตอนนี้เราก็ได้แอคเค้าท์ที่ประจำกรุ๊ปแล้วนั่นคือ ยูสเซอร์ oportino มีกรุ๊ปที่สังกัดคือ User_blog เป็นต้น
radgroupcheck เทเบิลนี้เอาไว้กำหนดนโยบายให้แต่ละกรุ๊ปนั่นคือสมาชิกใดถ้าอยู่ในกรุ๊ปนี้ก็จะถูกกำกนดตามเงื่อนไขที่ระบุ
groupname กำหนดกรุ๊ปที่ต้องการทำนโยบาย
Attribute เอาไว้กำหนดแอททริบิวท์ที่เป็นนโยบายระดับกรุ๊ปให้แก่กร๊ป
op คือสัญลักษณ์ที่ระบุให้แต่ละแอททริบิวท์
value คือค่าของแอททริบิวท์ที่กำหนดแต่ละกรุ๊ป
*ดูการกำหนดท้ายบทความ
radgroupreply เทเบิลนี้เอาไว้กำหนดเงื่อนไขและเมสเสจที่โชว์ให้แก่กรุ๊ปนั้นๆ เช่น หมดเวลาการล็อกอิน หรือหมดอายุการใช้งาน เป้นต้น โดยฟิลด์ต่างๆก็จะเหมือนกับ radgroupcheck และมีการใช้งานเหมือนกัน
* ดูการใช้งานจริงท้ายบทความ
เกริ่นมาพอสมควรแล้วคราวนี้มาดูการใช้งานจริงกันบ้าง
**หมายเหต ทุกยูสเซอร์ต้องสังกัดกรุ๊ปด้วยโดยกรุ๊ปนั้นเรากำหนดขึ้นเอง จะใช้ชื่อกรุ๊ปอะไรก็ไดุ้
ตกลงตามนี้ ยกตัวอย่างผมอยู่ในบริษัทแห่งหนึ่ง มี3แผนกที่ต้องการใช้งาน freeradius นั่นคือ
แผนกบัญชี 10 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ acc1 - acc10
แผนกการตลาด 5 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ market1 - market5
และผู้บริหาร 7 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ vip1 - vip7
เริ่มเลยละกัน
1.กำหนดชื่อกรุ๊ป แผนกบัญชีคือ Accounting แผนกการตลาดคือ Margeting และผู้บริหารคือ VIP
2. กำหนดยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดให้แก่แต่ละแผนก
insert into radcheck (Null,'acc1','Password',':=','acc1_pass'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง acc10
insert into radcheck (Null,'market1','Password',':=','market1_pass'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง market5
insert into radcheck (Null'vip1','Password',':=','vip1_password'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง vip7
3.จับแต่ละยูสเซอร์มาสังกัดกรุ๊ปของตนเอง
insert into radcheck (Null,'acc1','Accounting'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง acc10 ตรงตำแหน่งกรุ๊ปก็คงไว้
insert into radcheck (Null,'market1','Margeting'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง market5
insert into radcheck (Null'vip1','VIP'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง vip7
ทุกยูสเซอร์ก็จะมีกรุ๊ปอยู่แล้วตรงตามชื่อกรุ๊ปของแผนกตัวเอง
4.จากนั้นกำหนดให้แต่ละกรุ๊ปหมดเวลาการใช้งานเมื่อใดดังนี้
ี้insert into radgroupcheck (Null,'Accounting',Expiration',':=','Oct 30 2007');
insert into radgroupcheck (Null,'Margeting','Expiration',':=','Nov 10 2008');
คราวนี้เมื่อยูสเซอร์นั้นล็อกอินในภายหลังที่เราระบุ พี่แกก็จะล็อกอินไม่ได้พร้อมมีเมสเสจกลับมาว่าหมดอายุการใช้งานแล้ว
5.ต้องการให้กรุ๊ปของผู้บริหารนั่นคือ VIP ไม่มีวันหมดอายุการใช้งานกำหนดดังนี้
insert into radgroupcheck (Null'VIP','Auth-Type',':=','Local');
RADIUS ServerRADIUS Server คืออะไร
RADIUS เป็นคำย่อของ Remote Authentication Dial-In User Service (RADIUS) คือ client/server security protocol ซึ่งเป็นผลงานของLucent InterNetworking Systems ที่ได้ทำการคิดค้นขึ้นมา เพื่อรวบรวม account ของ users ให้อยู่แต่เพียงที่เดียว เพื่อง่ายต่อการบริหาร ไม่ต้องทำหลายจุดหลายเซิฟเวอร์ เวลามี users ที่เซิฟเวอร์อื่นๆ ต้องการใช้งาน ก็จะส่งข้อมูลมาตรวจเช็คที่ RADIUS Server นี้
ทำไมถึงต้องใช้ RADIUS
หาก ในระบบของท่านมีผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตจำนวนมาก ซึ่งยากต่อการควบคุมการใช้งาน โดยเฉพาะ ในสถานศึกษาที่มีผู้ใช้งานมากๆ RADIUS Server จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก
ข้อดีของ RADIUS Server
- ควบคุมการใช้อินเตอร์เน็ตของ User ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถเก็บ Log File เพื่อตรวจสอบหลังได้ ตามกฎหมายใหม่กำหนดdesktop
- ตรวจสอบ User ที่กำลังใช้งานได้ แบบ Real time
- กำหนดระยะเวลาการใช้งานของ User ได้ เช่น 1 ชั่วโมง, 2 วัน, 3 เดือน หรือ 10 นาที เป็นต้น
- สามารถ Clear User ที่ไม่ต้องการให้ใช้งานในขณะ On line ได้
RADIUS Server เหมาะสำหรับที่ไหน?
- อพาร์ทเม้น ที่ให้บริการ อินเตอร์เน็ต ทั้งแบบฟรี และเก็บค่าบริการ
- โรงแรม ที่ให้บริการ อินเตอร์เน็ต ทั้งแบบฟรี และเก็บค่าบริการ
- โรงเรียน, สถานศึกษา ที่มีบริการอินเตอร์เน็ต หรือ เพื่อการเรียนการสอน เพื่อป้องการแอบใช้อินเตอร์เน็ต ขณะรับการสอน
- ผู้ให้บริการ Wireless Internet (WiFi HotSpot)
ที่มา : http://www.star-internet.com/web/content/view/35/1/
มารู้จักกับ RADIUS กันเถอะ
คือ วิธีการมาตรฐานของการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ควบคุมการใช้งานเน็ต เวิร์ค (Network Access Server) กับผู้ใช้งาน (Access Clients) และอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบสิทธิ์การใช้งาน (Radius Server)
องค์ประกอบพื้นฐานของ RADIUS Server1. Access Clients
คือ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ผู้ใช้งานสั่งให้ติดต่อระบบเพื่อใช้งาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลูกค้า Individual ใช้งาน โดยใช้ โปรแกรม Dial-Up Net working สั่งงาน Modem ให้ Connect เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต
2. Network Access Servers (NAS )
คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อและจัดการการติดต่อระหว่าง Access Clients และ RADIUS Server ซึ่ง NAS จะทำหน้าที่เป็น Client เชื่อมต่อกับ RADIUS Server ส่งผ่านและจัดการข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบสิทธิ์ กำหนดสิทธิ์ ของ Access Clients เมื่อ Access Clients ร้องขอการต่อเชื่อมซึ่งจะต้องต่อเชื่อมมายัง NAS ผ่านโพรโตคอลที่ใช้ในการต่อเชื่อมต่าง ๆ เช่น PPP (Point-to-Point Protocol), SLIP (Serial Line Internet Protocol), Extensible Protocol อื่น ๆ เป็นต้น
ซึ่งจำเป็นต้องมีการส่งผ่าน Username และ Password จาก Access Clients มายัง NAS หลังจากนั้น NAS จะส่งข้อมูลที่จำเป็นต่าง ๆ เช่น Username, Password, NAS IP Address, NAS Port Number และข้อมูลอื่น ๆ ไปที่ RADIUS Server เพื่อขอตรวจสอบสิทธิ์ (Request Authentication)
3. RADIUS Server
ทำการตรวจสอบสิทธิ์โดยใช้ข้อมูลที่ NAS ส่งมา (Access-Request) กับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ใน RADIUS Server เอง หรือจากฐานข้อมูลภายนอก อื่น ๆ เช่น MS SQL Server, Oracle Database, LDAP Database หรือ RADIUS Server อื่น (ซึ่งเรียกการส่งผ่านการตรวจสอบสิทธิ์แบบนี้ว่า Proxy)
ในกรณีที่ข้อมูลทั้งหมดถูกต้อง RADIUS Server จะส่งผลยินยอมการเชื่อมต่อ (Access-Accept) หรือ ไม่ยินยอม (Access-Reject) ในกรณีที่ข้อมูลไม่ถูกต้อง แก่ NAS หลังจากนั้น NAS จะเชื่อมต่อหรือยกเลิกการการต่อเชื่อมตามผลที่ได้รับจาก RADIUS Server ซึ่งตามปรกติแล้ว NAS จะขอบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น วันที่ เวลา Username และข้อมูลอื่น ๆ ไปที่ RADIUS Server (Accounting Request) เพื่อให้ RADIUS Sever จัดเก็บข้อมูลหรือส่งต่อไปที่ RADIUS Server อื่น จัดเก็บเพื่อใช้ในการประมวลผลอื่น ๆ ต่อไป
RADIUS Package คือ ข้อมูลที่ถูกส่งหรือรับระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client (หมายถึง NAS) มีรูปแบบที่ถูกกำหนดไว้ตามมาตรฐานของ RFC 2685 Remote Authentication Dial In User Service (RADIUS) และ 2866 RADIUS Accounting.
มีคุณสมบัติดังนี้
เป็นข้อมูลที่ส่งหรือรับกันระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client
อยู่ ในรูปแบบของการร้องขอและตอบกลับ (Request /Response) คือ RADIUS Client ส่งการร้องขอไปยัง RADIUS Server และ RADIUS Server ตอบกลับการร้องขอของ RADIUS Client
แต่ละ Package จะต้องระบุจุดประสงค์ของการติดต่อ คือ Authentication หรือ Accounting
แต่ละ Package จะบรรจุข้อมูลที่เรียกว่า Attributes ซึ่งใช้ในการตรวจสอบสิทธิ์กำหนดสิทธิ์ และเก็บบันทึกการใช้งาน
การกำหนดค่าเบื้องต้นสำหรับ RADIUS Server และ Client
RADIUS Server
กำหนดเพื่อให้ RADIUS Server สามารถติดต่อกับ RADIUS Client แต่ละตัวได้ ซึ่งมีข้อมูลที่ต้องกำหนดให้ RADIUS Server ดังนี้
IP Address ของ NAS
RADIUS shared secret
ยี่ห้อ และ รุ่นของ NAS ที่ใช้ในกรณีที่ไม่มีหรือไม่ทราบให้เลือกเป็น - Standard Radius -.
** RADIUS Server จำเป็นต้องระบุ UDP Port เพื่อใช้สำหรับรับและส่ง Authentication และ Accounting Package ระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client
RADIUS Client
ต้องกำหนดค่าต่าง ๆ บน NAS เพื่อให้สามารถติดต่อกับ RADIUS Server ซึ่งต้องกำหนดค่าต่าง ๆ เหล่านี้บน NAS ทุกตัวที่ติดต่อกับ RADIUS Server
IP Address ของ RADIUS Server
RADIUS shared secret
UDP Port เพื่อใช้สำหรับส่งและรับ Authentication และ Accounting Package
** สำหรับ RADIUS shared secret และ UDP Port จะต้องกำหนดให้ตรงกับที่ระบุไว้ที่ RADIUS Server
RADIUS Shared Secret ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของการติดต่อระหว่าง RADIUS Server กับ RADIUS Client ซึ่ง Shared Secret จะเป็นตัวหนังสือ (ตัวเล็กและตัวใหญ่มีความแตกต่างกัน) หรือตัวเลขที่ต้องกำหนดให้ตรงกันทั้ง RADIUS Server และ RADIUS Client แต่ RADIUS Client แต่ละตัวไม่จำเป็นต้องกำหนด Shared Secretให้เหมือนกัน
RADIUS Shared Secret จะกำหนดได้ 2 ตัว ดังนี้
Authentication Shared Secret
Accounting Shared Secret
ในขณะที่มีการขอตรวจสอบสิทธิ์ (Authentication) การจัดส่ง Package Access-Request ระหว่าง NAS และ RADIUS Server เนื่องจากการส่ง Password จะต้องมีความปลอดภัยดังนั้นจึงมีการกำหนดโพรโตคอลเพื่อใช้ในการส่งและรับ ข้อมูล โพรโตคอลที่นิยมใช้คือ PAP, SHAP, MS-SHAP, MS-SHAP V2 และ EAP ซึ่งเป็นโพรโตคอลที่เกิดขึ้นใหม่ยังไม่แพร่หลายในขณะนี้
อ้างถึง
ตัวอย่าง ในโพรโตคอล PAP NAS จะต้องเข้ารหัส (Encrypt) Password ก่อนโดยใช้ Shared Secret และส่ง Package Access-Request นั้นออกไป เมื่อ RADIUS Server รับ Package Access-Request แล้วจะทำการถอดรหัส (Decrypt) Password ที่ถูกเข้ารหัสไว้โดยใช้ Shared Secret แล้วนำไปตรวจสอบ
สำหรับในการส่งข้อมูล Accounting จะไม่มีการ Encrypt ข้อมูลแต่ RADIUS Server จะใช้ Shared Secret ในการตรวจสอบความถูกต้องของ NAS ที่จะติดต่อด้วย
RADIUS Port RADIUS Server จำเป็นต้องระบุ UDP Port เพื่อใช้สำหรับรับและส่ง Authentication และ Accounting Package ระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client ซึ่งเริ่มต้นที่ RADIUS ได้ถูกพัฒนาขึ้นผู้พัฒนาได้ใช้ Port 1645 สำหรับการส่งและรับ Package Authentication และ 1646 สำหรับการส่งและรับ Package Accounting แต่เนื่องจากมาตรฐานนั้นได้มีการกำหนด Port ดังกล่าวสำหรับ "datametrics"
ดังนั้น Port ที่เป็นมาตรฐานในปัจจุบันนี้ คือ
- 1812 สำหรับการส่งและรับ Package Authentication
- 1813 สำหรับการส่งและรับ Package Accounting
Password Protocols เนื่องจากการส่ง Access-Request ในขณะที่มีการขอ Authentication มีการส่ง Password จาก NAS ไปยัง RADIUS Server จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของ Password ดังกล่าว ดังนั้นจึงมีการสร้างโพรโตคอลสำหรับใช้งานในส่วนนี้ขึ้นซึ่งได้แก่
PAP (Password Authentication Protocol)
ในขณะที่มีการขอเชื่อมต่อ(User Negotiates) จาก Access Clients มายัง NASการส่ง Password ในขั้นตอนนี้จะยังไม่มีการเข้ารหัส (encrypt) ใด ๆ Password จะจัดส่งในรูปแบบ “Clear Text”
เมื่อ NAS รวบรวมข้อมูลที่เพียงพอสำหรับสร้าง Access-Request แล้ว NAS จะ Encrypt Password โดยใช้ Authentication Shared Secret ที่ถูกกำหนดไว้ แล้วส่ง Access-Request ดังกล่าวไปยัง RADIUS Server
เมื่อ RADIUS Server ได้รับ Access-Request จาก NAS แล้วจะทำการ Decrypt Password ที่ได้รับโดยใช้ Authentication Shared Secret ที่จัดเก็บไว้สำหรับ NAS ตัวดังกล่าว
** โพรโตคอล PAP สามารถใช้ได้กับ RADIUS Server ทุกตัว
CHAP (Challenge Handshake Authentication Protocol)
สำหรับ CHAP ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการส่ง Password แบบ “Clear Text” ในขณะที่ User Negotiates เมื่อ NAS รับทราบแล้ว NAS จะสร้าง Challenge โดยสุ่มตัวอักษร แล้วส่งกลับไปยัง Access Client
เมื่อ Access Client ได้รับ Challenge จะทำการสร้าง Digest คือ นำ Challenge ที่ได้รับมาต่อท้าย Password แล้วทำการ Encrypt แบบ one-way Encryption (MD5 Algorithm) แล้วส่ง Digest นั้นแทน Password ไปยัง NAS
NAS สร้าง Access-Request สำหรับการ Authentication และส่งไปยัง RADIUS Server
เนื่องจาก Digest ถูกสร้างแบบ one-way Encryption ไม่สามารถ Decrypt ได้
RADIUS Server จึงจำเป็นต้องใช้ Attribute ที่เกี่ยวกับ CHAP Protocol ที่ถูกจัดส่งมาใน Access-Request Package ที่ได้รับจาก NAS ซึ่งมี 2 Attributes ที่เกี่ยวข้องดังนี้
CHAP-Password : Attribute สำหรับ Digest (Password ที่ต่อท้ายด้วย Challenge แล้ว Encrypt ด้วย MD5 Algorithm)
CHAP-Challenge : Attribute สำหรับ Challenge ที่ถูกสุ่มขึ้นโดย NAS
RADIUS Server ใช้ Challenge จาก CHAP-Challenge ต่อท้าย Password ที
ที่มา:cpe.rmuti.ac.th
เรามาดูกันซิว่า AAA มาจากคำว่าอะไรบ้าง
Accounting นั่นคือการจัดการแอคเค้าท์ในด้านต่างๆทั้งการสร้างแอคเค้าท์ ลบ และเพิ่มแอคเค้าท์ ตลอดจนการเพิ่มเติมคุณสมบัติต่างๆของแแต่ละแอคเค้าท์
Authentication
สิทธิ ตามวิธีการ A แรกที่ได้กล่าวมาในขั้นตอนนี้จะมีการแจ้งแมสเสจต่างๆว่าผ่านหรือไม่ ผ่าน การตรวจสอบสิทธิและเมื่อผ่านกระบวนการนี้ได้สำเร็จก็จะเข้าสู่กระบวนการสุด ท้าย นั่นคือ
Authorize
ทีนี้มาดูกระบวนการการทำงานของ freeradius กันดีกว่า
เริ่ม แรกหลังจากที่ได้มีการสร้างแอคเคาท์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว มีการใช้งานโปรแกรม radius-client ต่างๆเช่น Pgina, ntradping หรือโปรแกรมอื่นๆเพื่อล็อกอินหรือตรวจสอบสิทธิ ก็จะเข้าสู่กระบวนการต่างๆดังนี้
1.โปรแกรม radius-client จะติดต่อโปรแกรม freeradius ตามหมายเลขไอพีและพอร์ทที่ได้กำหนดไว้ (โดยปรกติพอร์ทของโปรแกรมจะอยู่ที่1812 ตาม default)
2.โปรแกรมจะนำชื่อแอคเค้าท์ รหัสผ่าน และค่า secret key ไปตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่ในขั้นตอนนี้จะมีกระบวนการดังนี้
2.1 (radius-client) >>>{username,password,secret key} >>>(freeradius)
ในขั้นตอนนี้จะมีการส่งยูสเซอร์เนม พาสเวิร์ด และ ซีเคร็ดคีย์ไปยังเซอร์ฟเวอร์เพื่อใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้อง
2.2 (radius-client) >>>>{access-request}>>>>(freeradius)
ในขั้นตอนนี้ทางฝั่งไคลเอ้นท์จะสร้างส้ญญาณร้องขอผลตอบกลับมาจากเซอร์ฟเวอร
์หรือรอสัญญาณตอบรับความถูกผิดของข้อมูลที่ส่งจากขั้นตอนแรก
2.3(radius-client) <<<<{access-reply}<<<<<<<<<(freeradius)
ใน ขั้นตอนนี้เซอร์ฟเวอร์จะตอบกลับไปยังเครื่องไคลเอ้นท์ด้วยสัญญาณ access-reply โดยสัญญาณนี้จะประกอบไปด้วย2สัญญาณย่อยที่สำคัญแต่จะเกิดขึ้นเพียงแค่หนึ่ง สัญญาณ
ต่อเงื่อนไขนั่นคือสัญญาณ access-accept และ access-reject โดยสัญญาณ
access-accept นี้คือสัญญาณที่ใช้ตอบกลับไปยังไคลเอ้นท์ว่ายูสเซอร์เนม รหัสผ่าน และซีเคร็ดคีย์นั้นถูกต้องส่วนสัญญาณ access-reject นั้นจะตรงกันข้ามกับสัญญาณแรก โดยมีความหมายคือยูสเซอร์เนม รหัสผ่าน และซีเคร็ดคีย์ไม่ถูกต้องหรืออาจมี เฉพาะตัวหนึ่งตัวใดไม่ถูกต้องก็ได้ เป็นต้น
ในโปรแกรม freeradius ต้องอาศัยฐานข้อมูลเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ในการประมวลผลไม่ว่าจะเป็น
ยู สเซอร์เนม และพาสเวิร์ด หรือเมสเสจและเงื่อนไขต่างๆของแต่ละยูสเซอร์ โดยในฐานข้อมูลจะมีตารางที่เกี่ยวข้องดังนี้ radcheck , radgroupcheck , radgroupreply,usergroup และ radacct มาดูแต่ละเทเบิลดีกว่า
radcheck ในเทเบิลนี้จะมีฟิลด์ดังนี้
username เอาไว้กำหนดยูสเซอร์เนม
Attribute เอาไว้กำหนดแอททริบิวท์ ว่าจะใช้อะไรเช่นต้องการการกำหนดพาสสเวิร์ดก็ใช้ Password เป็นต้น
op เป็นสัญลักษณ์เอาไว้กำหนดรายละเอียดของแต่ละ Attribute
value เอาไว้กำหนดค่าของแต่ละ Attribute
มาดูตัวอย่างการกำนดหรือสร้างแอคเค้าท์กันดังนี้
insert into radcheck value(Null,'oportino','Password',':=','opor_test');
อธิบาย ในขั้นตอนนี้เราก็ได้แอคเค้าท์ แล้วดังนี้ user=oportino มี password=opor_test เป็นต้น แต่ยังไม่สมบูรณ์นะเหลือที่เทเบิล usergroup อีกดูตัวอย่างข้างล่างประกอบด้วย
usergroup
username เอาไว้กำหนดยูสเซอร์เนม
groupname เอาไว้เก็บชื่อกรุ๊ปหรือกำหนดกรุ๊ปให้แก่ยูสเซอร์นั้น
มาดูตัวอย่างการกำนดหรืออสร้างแอคเค้าท์ให้สมบูรณ์ต่อจากตัวอย่างที่แล้วดังนี้
insert into usergroup value(Null,'oportino','User_blog');
อธิบาย ในขั้นตอนนี้เราก็ได้แอคเค้าท์ที่ประจำกรุ๊ปแล้วนั่นคือ ยูสเซอร์ oportino มีกรุ๊ปที่สังกัดคือ User_blog เป็นต้น
radgroupcheck เทเบิลนี้เอาไว้กำหนดนโยบายให้แต่ละกรุ๊ปนั่นคือสมาชิกใดถ้าอยู่ในกรุ๊ปนี้ก็จะถูกกำกนดตามเงื่อนไขที่ระบุ
groupname กำหนดกรุ๊ปที่ต้องการทำนโยบาย
Attribute เอาไว้กำหนดแอททริบิวท์ที่เป็นนโยบายระดับกรุ๊ปให้แก่กร๊ป
op คือสัญลักษณ์ที่ระบุให้แต่ละแอททริบิวท์
value คือค่าของแอททริบิวท์ที่กำหนดแต่ละกรุ๊ป
*ดูการกำหนดท้ายบทความ
radgroupreply เทเบิลนี้เอาไว้กำหนดเงื่อนไขและเมสเสจที่โชว์ให้แก่กรุ๊ปนั้นๆ เช่น หมดเวลาการล็อกอิน หรือหมดอายุการใช้งาน เป้นต้น โดยฟิลด์ต่างๆก็จะเหมือนกับ radgroupcheck และมีการใช้งานเหมือนกัน
* ดูการใช้งานจริงท้ายบทความ
เกริ่นมาพอสมควรแล้วคราวนี้มาดูการใช้งานจริงกันบ้าง
**หมายเหต ทุกยูสเซอร์ต้องสังกัดกรุ๊ปด้วยโดยกรุ๊ปนั้นเรากำหนดขึ้นเอง จะใช้ชื่อกรุ๊ปอะไรก็ไดุ้
ตกลงตามนี้ ยกตัวอย่างผมอยู่ในบริษัทแห่งหนึ่ง มี3แผนกที่ต้องการใช้งาน freeradius นั่นคือ
แผนกบัญชี 10 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ acc1 - acc10
แผนกการตลาด 5 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ market1 - market5
และผู้บริหาร 7 คน มีชื่อแอคเค้าท์ดังนี้ vip1 - vip7
เริ่มเลยละกัน
1.กำหนดชื่อกรุ๊ป แผนกบัญชีคือ Accounting แผนกการตลาดคือ Margeting และผู้บริหารคือ VIP
2. กำหนดยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ดให้แก่แต่ละแผนก
insert into radcheck (Null,'acc1','Password',':=','acc1_pass'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง acc10
insert into radcheck (Null,'market1','Password',':=','market1_pass'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง market5
insert into radcheck (Null'vip1','Password',':=','vip1_password'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง vip7
3.จับแต่ละยูสเซอร์มาสังกัดกรุ๊ปของตนเอง
insert into radcheck (Null,'acc1','Accounting'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง acc10 ตรงตำแหน่งกรุ๊ปก็คงไว้
insert into radcheck (Null,'market1','Margeting'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง market5
insert into radcheck (Null'vip1','VIP'); ที่เหลือก็กำหนดเข้าไปจนถึง vip7
ทุกยูสเซอร์ก็จะมีกรุ๊ปอยู่แล้วตรงตามชื่อกรุ๊ปของแผนกตัวเอง
4.จากนั้นกำหนดให้แต่ละกรุ๊ปหมดเวลาการใช้งานเมื่อใดดังนี้
ี้insert into radgroupcheck (Null,'Accounting',Expiration',':=','Oct 30 2007');
insert into radgroupcheck (Null,'Margeting','Expiration',':=','Nov 10 2008');
คราวนี้เมื่อยูสเซอร์นั้นล็อกอินในภายหลังที่เราระบุ พี่แกก็จะล็อกอินไม่ได้พร้อมมีเมสเสจกลับมาว่าหมดอายุการใช้งานแล้ว
5.ต้องการให้กรุ๊ปของผู้บริหารนั่นคือ VIP ไม่มีวันหมดอายุการใช้งานกำหนดดังนี้
insert into radgroupcheck (Null'VIP','Auth-Type',':=','Local');
RADIUS ServerRADIUS Server คืออะไร
RADIUS เป็นคำย่อของ Remote Authentication Dial-In User Service (RADIUS) คือ client/server security protocol ซึ่งเป็นผลงานของLucent InterNetworking Systems ที่ได้ทำการคิดค้นขึ้นมา เพื่อรวบรวม account ของ users ให้อยู่แต่เพียงที่เดียว เพื่อง่ายต่อการบริหาร ไม่ต้องทำหลายจุดหลายเซิฟเวอร์ เวลามี users ที่เซิฟเวอร์อื่นๆ ต้องการใช้งาน ก็จะส่งข้อมูลมาตรวจเช็คที่ RADIUS Server นี้
ทำไมถึงต้องใช้ RADIUS
หาก ในระบบของท่านมีผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตจำนวนมาก ซึ่งยากต่อการควบคุมการใช้งาน โดยเฉพาะ ในสถานศึกษาที่มีผู้ใช้งานมากๆ RADIUS Server จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก
ข้อดีของ RADIUS Server
- ควบคุมการใช้อินเตอร์เน็ตของ User ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถเก็บ Log File เพื่อตรวจสอบหลังได้ ตามกฎหมายใหม่กำหนดdesktop
- ตรวจสอบ User ที่กำลังใช้งานได้ แบบ Real time
- กำหนดระยะเวลาการใช้งานของ User ได้ เช่น 1 ชั่วโมง, 2 วัน, 3 เดือน หรือ 10 นาที เป็นต้น
- สามารถ Clear User ที่ไม่ต้องการให้ใช้งานในขณะ On line ได้
RADIUS Server เหมาะสำหรับที่ไหน?
- อพาร์ทเม้น ที่ให้บริการ อินเตอร์เน็ต ทั้งแบบฟรี และเก็บค่าบริการ
- โรงแรม ที่ให้บริการ อินเตอร์เน็ต ทั้งแบบฟรี และเก็บค่าบริการ
- โรงเรียน, สถานศึกษา ที่มีบริการอินเตอร์เน็ต หรือ เพื่อการเรียนการสอน เพื่อป้องการแอบใช้อินเตอร์เน็ต ขณะรับการสอน
- ผู้ให้บริการ Wireless Internet (WiFi HotSpot)
ที่มา : http://www.star-internet.com/web/content/view/35/1/
มารู้จักกับ RADIUS กันเถอะ
คือ วิธีการมาตรฐานของการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ควบคุมการใช้งานเน็ต เวิร์ค (Network Access Server) กับผู้ใช้งาน (Access Clients) และอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบสิทธิ์การใช้งาน (Radius Server)
องค์ประกอบพื้นฐานของ RADIUS Server1. Access Clients
คือ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ผู้ใช้งานสั่งให้ติดต่อระบบเพื่อใช้งาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลูกค้า Individual ใช้งาน โดยใช้ โปรแกรม Dial-Up Net working สั่งงาน Modem ให้ Connect เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต
2. Network Access Servers (NAS )
คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อและจัดการการติดต่อระหว่าง Access Clients และ RADIUS Server ซึ่ง NAS จะทำหน้าที่เป็น Client เชื่อมต่อกับ RADIUS Server ส่งผ่านและจัดการข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบสิทธิ์ กำหนดสิทธิ์ ของ Access Clients เมื่อ Access Clients ร้องขอการต่อเชื่อมซึ่งจะต้องต่อเชื่อมมายัง NAS ผ่านโพรโตคอลที่ใช้ในการต่อเชื่อมต่าง ๆ เช่น PPP (Point-to-Point Protocol), SLIP (Serial Line Internet Protocol), Extensible Protocol อื่น ๆ เป็นต้น
ซึ่งจำเป็นต้องมีการส่งผ่าน Username และ Password จาก Access Clients มายัง NAS หลังจากนั้น NAS จะส่งข้อมูลที่จำเป็นต่าง ๆ เช่น Username, Password, NAS IP Address, NAS Port Number และข้อมูลอื่น ๆ ไปที่ RADIUS Server เพื่อขอตรวจสอบสิทธิ์ (Request Authentication)
3. RADIUS Server
ทำการตรวจสอบสิทธิ์โดยใช้ข้อมูลที่ NAS ส่งมา (Access-Request) กับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ใน RADIUS Server เอง หรือจากฐานข้อมูลภายนอก อื่น ๆ เช่น MS SQL Server, Oracle Database, LDAP Database หรือ RADIUS Server อื่น (ซึ่งเรียกการส่งผ่านการตรวจสอบสิทธิ์แบบนี้ว่า Proxy)
ในกรณีที่ข้อมูลทั้งหมดถูกต้อง RADIUS Server จะส่งผลยินยอมการเชื่อมต่อ (Access-Accept) หรือ ไม่ยินยอม (Access-Reject) ในกรณีที่ข้อมูลไม่ถูกต้อง แก่ NAS หลังจากนั้น NAS จะเชื่อมต่อหรือยกเลิกการการต่อเชื่อมตามผลที่ได้รับจาก RADIUS Server ซึ่งตามปรกติแล้ว NAS จะขอบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น วันที่ เวลา Username และข้อมูลอื่น ๆ ไปที่ RADIUS Server (Accounting Request) เพื่อให้ RADIUS Sever จัดเก็บข้อมูลหรือส่งต่อไปที่ RADIUS Server อื่น จัดเก็บเพื่อใช้ในการประมวลผลอื่น ๆ ต่อไป
RADIUS Package คือ ข้อมูลที่ถูกส่งหรือรับระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client (หมายถึง NAS) มีรูปแบบที่ถูกกำหนดไว้ตามมาตรฐานของ RFC 2685 Remote Authentication Dial In User Service (RADIUS) และ 2866 RADIUS Accounting.
มีคุณสมบัติดังนี้
เป็นข้อมูลที่ส่งหรือรับกันระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client
อยู่ ในรูปแบบของการร้องขอและตอบกลับ (Request /Response) คือ RADIUS Client ส่งการร้องขอไปยัง RADIUS Server และ RADIUS Server ตอบกลับการร้องขอของ RADIUS Client
แต่ละ Package จะต้องระบุจุดประสงค์ของการติดต่อ คือ Authentication หรือ Accounting
แต่ละ Package จะบรรจุข้อมูลที่เรียกว่า Attributes ซึ่งใช้ในการตรวจสอบสิทธิ์กำหนดสิทธิ์ และเก็บบันทึกการใช้งาน
การกำหนดค่าเบื้องต้นสำหรับ RADIUS Server และ Client
RADIUS Server
กำหนดเพื่อให้ RADIUS Server สามารถติดต่อกับ RADIUS Client แต่ละตัวได้ ซึ่งมีข้อมูลที่ต้องกำหนดให้ RADIUS Server ดังนี้
IP Address ของ NAS
RADIUS shared secret
ยี่ห้อ และ รุ่นของ NAS ที่ใช้ในกรณีที่ไม่มีหรือไม่ทราบให้เลือกเป็น - Standard Radius -.
** RADIUS Server จำเป็นต้องระบุ UDP Port เพื่อใช้สำหรับรับและส่ง Authentication และ Accounting Package ระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client
RADIUS Client
ต้องกำหนดค่าต่าง ๆ บน NAS เพื่อให้สามารถติดต่อกับ RADIUS Server ซึ่งต้องกำหนดค่าต่าง ๆ เหล่านี้บน NAS ทุกตัวที่ติดต่อกับ RADIUS Server
IP Address ของ RADIUS Server
RADIUS shared secret
UDP Port เพื่อใช้สำหรับส่งและรับ Authentication และ Accounting Package
** สำหรับ RADIUS shared secret และ UDP Port จะต้องกำหนดให้ตรงกับที่ระบุไว้ที่ RADIUS Server
RADIUS Shared Secret ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของการติดต่อระหว่าง RADIUS Server กับ RADIUS Client ซึ่ง Shared Secret จะเป็นตัวหนังสือ (ตัวเล็กและตัวใหญ่มีความแตกต่างกัน) หรือตัวเลขที่ต้องกำหนดให้ตรงกันทั้ง RADIUS Server และ RADIUS Client แต่ RADIUS Client แต่ละตัวไม่จำเป็นต้องกำหนด Shared Secretให้เหมือนกัน
RADIUS Shared Secret จะกำหนดได้ 2 ตัว ดังนี้
Authentication Shared Secret
Accounting Shared Secret
ในขณะที่มีการขอตรวจสอบสิทธิ์ (Authentication) การจัดส่ง Package Access-Request ระหว่าง NAS และ RADIUS Server เนื่องจากการส่ง Password จะต้องมีความปลอดภัยดังนั้นจึงมีการกำหนดโพรโตคอลเพื่อใช้ในการส่งและรับ ข้อมูล โพรโตคอลที่นิยมใช้คือ PAP, SHAP, MS-SHAP, MS-SHAP V2 และ EAP ซึ่งเป็นโพรโตคอลที่เกิดขึ้นใหม่ยังไม่แพร่หลายในขณะนี้
อ้างถึง
ตัวอย่าง ในโพรโตคอล PAP NAS จะต้องเข้ารหัส (Encrypt) Password ก่อนโดยใช้ Shared Secret และส่ง Package Access-Request นั้นออกไป เมื่อ RADIUS Server รับ Package Access-Request แล้วจะทำการถอดรหัส (Decrypt) Password ที่ถูกเข้ารหัสไว้โดยใช้ Shared Secret แล้วนำไปตรวจสอบ
สำหรับในการส่งข้อมูล Accounting จะไม่มีการ Encrypt ข้อมูลแต่ RADIUS Server จะใช้ Shared Secret ในการตรวจสอบความถูกต้องของ NAS ที่จะติดต่อด้วย
RADIUS Port RADIUS Server จำเป็นต้องระบุ UDP Port เพื่อใช้สำหรับรับและส่ง Authentication และ Accounting Package ระหว่าง RADIUS Server และ RADIUS Client ซึ่งเริ่มต้นที่ RADIUS ได้ถูกพัฒนาขึ้นผู้พัฒนาได้ใช้ Port 1645 สำหรับการส่งและรับ Package Authentication และ 1646 สำหรับการส่งและรับ Package Accounting แต่เนื่องจากมาตรฐานนั้นได้มีการกำหนด Port ดังกล่าวสำหรับ "datametrics"
ดังนั้น Port ที่เป็นมาตรฐานในปัจจุบันนี้ คือ
- 1812 สำหรับการส่งและรับ Package Authentication
- 1813 สำหรับการส่งและรับ Package Accounting
Password Protocols เนื่องจากการส่ง Access-Request ในขณะที่มีการขอ Authentication มีการส่ง Password จาก NAS ไปยัง RADIUS Server จึงจำเป็นต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของ Password ดังกล่าว ดังนั้นจึงมีการสร้างโพรโตคอลสำหรับใช้งานในส่วนนี้ขึ้นซึ่งได้แก่
PAP (Password Authentication Protocol)
ในขณะที่มีการขอเชื่อมต่อ(User Negotiates) จาก Access Clients มายัง NASการส่ง Password ในขั้นตอนนี้จะยังไม่มีการเข้ารหัส (encrypt) ใด ๆ Password จะจัดส่งในรูปแบบ “Clear Text”
เมื่อ NAS รวบรวมข้อมูลที่เพียงพอสำหรับสร้าง Access-Request แล้ว NAS จะ Encrypt Password โดยใช้ Authentication Shared Secret ที่ถูกกำหนดไว้ แล้วส่ง Access-Request ดังกล่าวไปยัง RADIUS Server
เมื่อ RADIUS Server ได้รับ Access-Request จาก NAS แล้วจะทำการ Decrypt Password ที่ได้รับโดยใช้ Authentication Shared Secret ที่จัดเก็บไว้สำหรับ NAS ตัวดังกล่าว
** โพรโตคอล PAP สามารถใช้ได้กับ RADIUS Server ทุกตัว
CHAP (Challenge Handshake Authentication Protocol)
สำหรับ CHAP ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการส่ง Password แบบ “Clear Text” ในขณะที่ User Negotiates เมื่อ NAS รับทราบแล้ว NAS จะสร้าง Challenge โดยสุ่มตัวอักษร แล้วส่งกลับไปยัง Access Client
เมื่อ Access Client ได้รับ Challenge จะทำการสร้าง Digest คือ นำ Challenge ที่ได้รับมาต่อท้าย Password แล้วทำการ Encrypt แบบ one-way Encryption (MD5 Algorithm) แล้วส่ง Digest นั้นแทน Password ไปยัง NAS
NAS สร้าง Access-Request สำหรับการ Authentication และส่งไปยัง RADIUS Server
เนื่องจาก Digest ถูกสร้างแบบ one-way Encryption ไม่สามารถ Decrypt ได้
RADIUS Server จึงจำเป็นต้องใช้ Attribute ที่เกี่ยวกับ CHAP Protocol ที่ถูกจัดส่งมาใน Access-Request Package ที่ได้รับจาก NAS ซึ่งมี 2 Attributes ที่เกี่ยวข้องดังนี้
CHAP-Password : Attribute สำหรับ Digest (Password ที่ต่อท้ายด้วย Challenge แล้ว Encrypt ด้วย MD5 Algorithm)
CHAP-Challenge : Attribute สำหรับ Challenge ที่ถูกสุ่มขึ้นโดย NAS
RADIUS Server ใช้ Challenge จาก CHAP-Challenge ต่อท้าย Password ที
ที่มา:cpe.rmuti.ac.th